ค้นหาบล็อกนี้

วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2553

รำนางอัปสรา

ระบำเทพอัปสรา 1/2

ระบำเทพอัปสรา 2/2

อัปสรา

ดึงครกดึงสาก วนศ.ร้อยเอ็ด

รำดึงครกดึงสาก : พาแลงบางมด51

ฟ้อนดึงครกดึงสาก วนศ. ร้อยเอ็ด

ฟ้อนมโนราห์เล่นน้ำ 01/2

ฟ้อนมโนราห์เล่นน้ำ วนศ.ร้อยเอ็ด

มโนห์ราลำเพลิน-วงโปงลางสุวรรณศิลป์

ธิดาฟ้าหยาด.flv

นาฏลีลาฟ้าหยาด

ระบำนาฏลีลาฟ้าหยาด

ระบำเงือก

โนราห์ แม่ท่า

กรีชสุหรานากง

MUSIC03

รำรจนาเสี่ยงพวงมาลัย

ฉุยฉายยอพระกลิ่น

ฉุยฉายวันทอง

รำฉุยฉายวันทอง ตัวอย่าง VCD รำไทย

ฉุยฉายพราหมณ์ ตอน 2

ฉุยฉายพราหมณ์ ตอน 1

ฉุยฉายพราหมณ์

รำฉุยฉายเบญจกายแปลง

หนุมานจับนางเบญกาย The Pursuit of Benyakai

โขน ชุด ยกรบ (ทศกัณฐ์รบพระราม)

วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553

รู้จักฟลุท

เรื่องราวของฟลุทที่เรียบเรียงโดย ครูมด สามารถฝึกฝนได้จากการอ่านและสามารถขอเสียงในการฟังได้จากเวปของครูมดนะคะ  http://www.facebook.com/photo.php?fbid=1681543074188&set=a.1519583265294.70526.1105915630

วันอาทิตย์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ตัวอย่างโครงงาน แบบที่ 2

 ตัวอย่างโครงงานภาษาไทย
                     เรื่อง สำรวจรวบรวมคำที่มักเขียนผิดในภาษาไทย
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
          การเขียนคำภาษาไทยให้ถูกต้องตรงตามแบบแผนนั้น นับเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่ง การเขียนคำภาษาไทยได้ถูกต้องเป็นการแสดงถึงความเข้าใจ และให้ความสำคัญอย่างลึกซึ้งกับภาษาซึ่งเป็นมรดกล้ำค่าของไทยแต่โบราณมา ทว่าในปัจจุบัน การเขียนภาษาไทยเป็นไปอย่างกว้างขวางทั่วถึง อีกทั้งภาษาไทยเป็นภาษาที่งดงามซับซ้อน มีตัวพยัญชนะถึง 44 ตัว มีคำพ้องรูป พ้องเสียงมากมาย จึงทำให้เกิดความสับสน ในการสะกดคำบางคำ นานวันเข้าจึงมีคำที่มักเขียนผิดมากมาย ผู้จัดทำเห็นความจำเป็นที่ควรจะรวบรวมคำที่มักเข่ยนผิดในภาษาไทย ซึ่งมักจะเป็นคำที่คุ้นเคยในการฟังและพูด แต่มักไม่ค่อยเขียน เมื่อต้องเขียนจึงเขียนผิด การรวบรวมคำที่มักเขียนผิด พร้อมทั้งค้นหาความหมายนั้นได้จัดเรียงลำดับตัวอักษรเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา และเกิดประโยชน์มากที่สุด
วัตถุประสงค์
          1. เพื่อรวบรวมคำที่มักเขียนผิดในภาษาไทย ค้นคว้าแก้ไขให้ถูกต้องแล้วเรียบเรียงใหม่ตามลำดับตัวอักษรตั้งแต่ ก-ฮ
          2. เพื่อค้นหาความหมายของคำที่ได้แก้ไขให้ถูกต้องแล้วนั้นมาแสดงไว้ให้ง่ายต่อการค้นคว้า
          3. เพื่อให้การเขียนคำในภาษาไทยเป็นไปอย่างถูกต้องตามแบบพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นมาตรฐานในการเขียนคำภาษาไทย
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
          รวบรวมคำที่มักเขียนผิด เรียบเรียงใหม่ตามลำดับตัวอักษรและค้นหาความหมายของคำนั้น ๆ ตามลำดับตัวอักษร ก-ฮ
วิธีการดำเนินการ
          1. ศึกษาจากหนังสือรวบรวมคำที่มักเขียนผิด อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร ของราชบัณฑิตยสถาน (แก้ไขเพิ่มเติม) ซึ่งได้รวบรวมไว้เบื้องต้นแล้วส่วนหนึ่ง
          2. รวบรวมคำที่เป็นศัพท์ยากจากหนังสือเรียนภาษาไทย ท 503 ชุดวรรณสารวิจักษณ์ เล่ม 3
          3. ค้นหาความหมายจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 พร้อมกับเรียบเรียงตามลำดับตัวอักษร
          4. นำเสนอในรูปแบบตาราง
ผลการศึกษา
ตารางแสดงคำที่มักเขียนผิด
       
คำที่มักเขียนผิดคำที่เขียนถูกต้องความหมาย
กงศุลกงสุลพนักงานผู้มีหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ในต่างประเทศ
กฏกฎข้อบังคับ
กบฎกบฏประทุษร้ายต่อประเทศ
กันเชียงกรรเชียงเครื่องพุ้ยน้ำให้เรือเดิน รูปคล้ายแจว
กันโชกกรรโชกขู่เอาด้วยกิริยาหรือวาจาให้กลัว
กันไตรกรรไตรเครื่องมือสำหรับใช้หนีบ มี 2 ขา เขียนเป็นกรรไกร หรือ ตระไกรก็มี
กรรมพันธ์กรรมพันธุ์ลักษณะนิสัย โรคบางชนิดที่สืบทอดทางสายเลือด
กรรมสิทธิกรรมสิทธิ์ความเป็นเจ้าของทรัพย์
กล่อนกร่อนสึกหรอ
ขรุกขริกขลุกขลิกเต๋าเขย่า (การพนัน) , แกงเผ็ดที่มีน้ำน้อย
ขมักเขม้น , ขะมักขะเม่นขะมักเขม้นตั้งใจทำอย่างรีบเร่งเพื่อให้แล้วเสร็จไป
ขมุกขมอมขะมุกขะมอมเปรอะเปื้อนมอซอ
ขันทสกรขัณฑสกรน้ำตางกรวด
ขัดสมาสขัดสมาธินั่งเอาขาสองข้างขัดกันไขว้กัน
ขันเชนาะขันชะเนาะบิดลูกชะเนาะให้ตึง
ขาดดุลย์ขาดดุลบกพร่อง
คึ่นช่ายขึ้นฉ่ายชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ใบคล้ายผักชีแต่โตกว่า
เข็นใจเข็ญใจยากจนข้นแค้น
ขเม็ดแขม่เขม็ดแขม่ประหยัด
ขเยก , ขะเหยกเขยกอาการที่เดินหรือวิ่งด้วยปลายเท้าอย่างคนเท้าเจ็บ
ขะเหยินเขยินยื่นออกมา
เข้าฌาณเข้าฌานทำใจให้สงบตามหลักพระพุทธศาสนา
เข้ารีดเข้ารีตเปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น
ไข่มุกข์ , ไข่มุกด์ , ไข่มุขไข่มุกวัตถุมีค่า มีลักษณะกลม ๆ เกิดจากหอยบางชนิด
คณณาคณนานับ
คณโฑคนโทหม้อน้ำรูปต่าง ๆ คอยาว
เครื่องยนตร์เครื่องยนต์เครื่องจักรที่ทำให้เกิดพลังงาน
เครื่องลางเครื่องรางเช่น ตะกรุด ผ้ายันต์
เครื่องสำอางค์เครื่องสำอางสิ่งเสริมแต่งหรือบำรุงให้ดูงาม
เคหะสงเคราะห์เคหสงเคราะห์องค์การสงเคราะห์ด้านที่อยู่อาศัย
เคี่ยวเข็นเคี่ยวเข็ญบีบบังคับ
โครงการณ์โครงการแผนหรือเค้าโครง
โควต้าโควตาการจำกัดจำนวนโดยวางกฎเกณท์ไว้
งบดุลย์งบดุลบัญชีแสดงรายการแตกต่างระหว่างทรัพย์สินกับหนี้สิน
งูสวัสดิ์งูสวัดโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง
โง่เหง้าโง่เง่าโง่มาก
จรเข้จระเข้สัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่
จาละเม็ดจะละเม็ดชื่อปลาทะเล รูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนข้างมาก
จักรพรรดิ์จักรพรรดิพระราชาธิราช
จันทาล , จันฑาลจัณฑาลต่ำช้า
จตุรัสจัตุรัสสี่เหลี่ยมด้านเท่าเป็นมุมฉาก
ต้นจันทร์ต้นจันทน์ชื่อพรรณไม้บางชนิดที่มีเนื้อไม้ดอกหรือผลหอม
ตลบแตลงตลบตะแลงพลิกแพลงด้วยเล่ห์เหลี่ยมให้หลงเชื่อ
ตะกรุมตะกลามตะกรุมตะกรามกิริยาที่ทำไปอย่างขาดการพินิจพิจารณาเนื่องในการบริโภค ผลีผลาม
-ตะเข้จระเข้; ตัวไม้จากกลางจั่งบ้านมายังชายคา
ตะเข้ตะเฆ่เครื่องลากเข็นของหนัก รูปเตี้ย ๆ มีล้อ
ตารางตะรางที่คุมขังนักโทษ
ตล่อมตะล่อมทำให้รวมกันเข้ามาเป็นกอง ; อัตราตวงของโบราณ
ต่าง ๆ นา ๆต่าง ๆ นานาหลายอย่าง หลายชนิด
ตานขะโมยตานขโมยชื่อโรคพยาธิลำไส้อย่างหนึ่ง
ตาลตะโหนดตาลโตนดชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใบใหญ่
ตาละปัตรตาลปัตรพัดใบตาลมีด้ามยาว สำหรับพระใช้ในพิธีกรรม
ตำหรับตำราตำรับตำราตำราที่กำหนดไว้เฉพาะเรื่อง
เต๊นท์เต็นท์ที่พักย้ายได้ ทำจากผ้าใบ
   
     
ถนนราดยางถนนลาดยางถนนลาดยางมะตอย
ถนัดถะหนี่ถนัดถนี่ถนัดชัดเจน
ถั่วพลูถั่วพูถั่วชนิดหนึ่ง
ทะโมนทโมนใหญ่และมีกำลังมาก
ทะยอยทยอยหย่อย ๆ กันไปไม่ขาดระยะ
ทะแยงทแยงเฉลียง ,  เฉียง
ทรนงทระนงทะนง , หยิ่ง
ทรัพย์สิทธิ์ทรัพย์สิทธิสิทธิเหนือทรัพย์นั้น ๆ
ทนงทะนงถือตัว หยิ่ง
ทนุบำรุงทะนุบำรุงเอาใจใส่ดูแล เลี้ยงดู
ทลวงทะลวงทำให้เป็นช่องกลวงเข้าไป
ทลึ่งทะลึ่งแสดงกิริยาหรือวาจาอันไม่สมควรในเรื่องที่ไม่ใช่ธุระของตัวเอง
ทะเลสาปทะเลสาบห้วงน้ำใหญ่ที่มีลักษณะเนื้อที่กว้างใหญ่
ทัศนะศิลป์ทัศนศิลป์ศิลป์จากการเห็น
เทอดพระเกียรติเทิดพระเกียรติยกย่องพระเกียรติไว้เป็นที่เคารพ
แท๊กซี่แท็กซี่รถยนต์รับจ้างสาธารณะ
ธัญญพืชธัญพืชพืชข้าวกล้า
ธำมรงธำมรงค์แหวน
ธำรงค์ธำรงชูไว้ ทรงไว้
ธุดงธุดงค์องค์คุณเครื่องกำจัดกิเลส
ธุระการธุรการการจัดกิจการงานโดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย
ธุระกิจธุรกิจ
การงานประจำเกี่ยวกับอาชีพค้าขาย
    
 







































ผลและการวิจารณ์ผล

1. โครงงานนี้มีการรวบรวมคำไว้มากกว่า 70 คำ
2. มีการนำเสนอในรูปแบบตาราง อ่านง่าย 

สรุปผลการศึกษา

          คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดนั้น โดยส่วนใหญ่ที่ผิดนั้นก็คือ เกิดจากการที่คำนั้น ๆ มีคำพ้องเสียงหลายคำ แต่สะกดคำต่างกันจึงทำให้ใช้ผิด อีกทั้งเป็นเพราะคำไทยมีตัวพยัญชนะถึง 44 ตัว มีบางตัวที่ออกเสียงเดียวกัน ทำให้เกิดการใช้ผิดกัน

เอกสารอ้างอิง

          ราชบัณฑิตยสถาน. อ่านอย่างไรและเขียนอย่างไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
(แก้ไขเพิ่มเติม) พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : คอมฟอร์ม,2540
          พจนานุกรม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530
.

ตัวอย่างโครงงาน แบบที่ 1


ตัวอย่างโครงงานภาษาไทย
                          เรื่อง สำนวนภาษา คำพังเพยในท้องถิ่น
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
          ภาษาไทยในแต่ละท้องถิ่น มีภาษาซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง อาจจะแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม ประเพณี อิทธิพล จากประเทศเพื่อนบ้าน ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศและความเป็นอยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ ดังนั้น สำนวนภาษา และคำพังเพยที่ใช้จึงมีภาษาพูดที่แตกต่างกันออกไป แต่ความหมายยังคล้ายคลึงกัน เช่นเดียวกับสำนวนภาษา และคำพังเพยที่แตกต่างกันออกไป
          จึงได้ทำโครงงานการศึกษา สำนวนภาษาและคำพังเพยในท้องถิ่นของจังหวัดตรังขึ้น
 
วัตถุประสงค์
          1. เพื่อรวบรวมสำนวนภาษา และคำพังเพยที่มีในท้องถิ่น
          2. เพื่อหาความหมายของสำนวนภาษาและคำพังเพย
          3. เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไปนำไปใช้ให้ถูกต้อง
 
สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า
          สำนวนภาษา และคำพังเพยแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกัน
 
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
          1. สถานที่สำรวจในพื้นที่จังหวัดตรัง
          2. ระยะเวลาศึกษาตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ - 15 มีนาคม 2543
 
อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการศึกษา
          1. หนังสืออ่านนอกเวลา ป. 5
          2. พจนานุกรม ปทานุกรม
          3. เครื่องเขียน
 
วิธีการศึกษา
          1. สอบถาม สัมภาษณ์ จากครู ผู้ปกครอง และบุคคลแหล่งชุมชนในท้องถิ่น
          2. ศึกษาค้นคว้าจากห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดประชาชน
          3. สังเกตจากการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน
          4. สร้างเครื่องมือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์
          5. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล บันทึกผล
 
วิธีบันทึก
          1. บันทึกภาพ
          2. จดบันทึก
          3. แบบสอบถาม
 
สรุปผลการศึกษา
          ในการศึกษาสำนวนภาษา และคำพังเพยที่ใช้ในท้องถิ่น จังหวัดตรัง ได้ข้อมูลทั้งสิ้น 23 สำนวน ดังนี้
          1. หูทวนลม                หมายความว่า     พูดไม่ฟัง
          2. หยาบเหมือนขี้ช้าง   หมายความว่า    ไม่เรียบร้อย
          3. ขี้คร้านหลังยาว        หมายความว่า     เป็นคนขี้เกียจ
          4. สีซอให้ควายฟัง       หมายความว่า     ฟังแต่ไม่รับรู้
          5. สู้หลังชนฝา             หมายความว่า     สู้ไม่ถอย
          6. กินข้าวสองมือ         หมายความว่า     เป็นคนสุขสบาย
          7. ลิงหลอกเจ้า            หมายความว่า     ต่อหน้าทำดีลับหลังนินทา
          8. ต้มสิบน้ำไม่เปื่อย     หมายความว่า    เป็นคนเฉื่อยชา ไปเรื่อย ๆ
          9. เณรเกตุ                  หมายความว่า    เที่ยวไม่รู้หัวนอนปลายเท้า
         10. แมวงอกเขาเต่างอกขา      หมายความว่า     เรื่องที่เป็นไปไม่ได้
         11. จับปูใส่ด้ง                         หมายความว่า     อยู่ไม่นิ่ง
         12. จับน้ำใส่โหลก โงกแลเงา   หมายความว่า     ให้เจียมตัว
         13. ใหญ่พร้าว เฒ่าลอกอ         หมายความว่า     โตแต่ตัว
         14. อยู่จนพร้าวเรียว                หมายความว่า      แต่งงานอยู่กินกันมานาน
         15. ไม่เข้าเค้า                        หมายความว่า      ไม่ได้เรื่อง
         16. ไม่สาเกลือ                        หมายความว่า      ไม่น่านับถือ
         17. ไม่สาไหร                          หมายความว่า      ไม่ได้เรื่อง
         18. ดำเหมือนกล้วยหมกลืม      หมายความว่า      เปรียบเทียบคนผิวดำ
         19. ดำเหมือนตอเคี่ยม             หมายความว่า      เปรียบเทียบคนผิวดำ
         20. นอนหวันแยงวาน                หมายความว่า      นอนตื่นสาย
         21. นอนหวันแยงตา                  หมายความว่า      นอนกลางวันจนค่ำ 
แล้วยังไม่ตื่น
         22. ทำงานหลาวหลาว               หมายความว่า      ทำงานขาดความรอบคอบ
         23. รวยหยังหยัง                       หมายความว่า       ร่ำรวยมาก
 
อภิปรายผลการศึกษา
          สำนวนภาษา คำพังเพย ที่ไปสำรวจได้ ถ้าพูดด้วยภาษถิ่นทางใต้ด้วยแล้ว บางครั้งคนฟังที่เป็นคนต่างถิ่น จะไม่รู้เรื่องเลยแม้แต่น้อย แต่ถ้าใช้ภาษากลางพูด บางสำนวนฟังแล้วรู้เรื่อง เช่น สำนวนว่า "นอนหวันแยงวาน" หวัน หมายถึง ตะวัน แสงอาทิตย์ แยง หมายถึง ทิ่ม แทง วาน หมายถึง ทวาร ซึ่งคนมทางใต้นิยมพูดสั้น ๆ เอาพยางค์สุดท้ายของคำมาพูด อย่างไรก็ตาม ภาษาถิ่นแต่ละแห่งย่อมแตกต่างกันไป ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าสนใจมาก
 
สรุปผลการศึกษา
          1. ได้สำนวนภาษา คำพังเพย จำนวน 23 สำนวน
          2. ได้ทราบความหมายของสำนวนทั้ง 23 สำนวน
 
ประโยชน์ที่ได้รับ
          1. ได้ทราบภาษาถิ่นที่เป็นสำนวนภาษา และคำพังเพย
          2. ได้ทราบความแตกต่างของภาษาถิ่นและภาษากลาง บางคำมาจากรากศัพท์เดียวกัน
          3. ภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่น ภาษาของชาวบ้านที่สรรหาคำมาเปรียบเปรย
 
ข้อเสนอแนะ
          1. ทำโครงงานเรื่องนี้ต่อ โดยเก็บรวบรวมให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้
          2. จัดรวบรวม จำแนก จัดหมวดหมู่ให้เป็นระบบ

วันอังคารที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

บทสวดบูชาพระพิฆเนศแบบโบราณ 17 บท

สามารถเลือกบทใดบทหนึ่ง
หรือจะสวดบูชาทั้ง 17 บทเรียงต่อกันก็จะเป็นสิริมงคล


1. โอม สุมุ-ขายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีพระพักตร์งดงามดั่งดวงจันทร์
2. โอม เอกทันตะ ยะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีงาข้างเดียว

3. โอม กาปิ ลายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีผิวกายสีแดง

4. โอม คัชกรัณ กายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีรูปร่างเป็นช้าง

5. โอม ลัมโพ ทะรายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีท้องอันใหญ่โต

6. โอม วิกฏายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงประทานความผาสุข

7. โอม วิฆนะ รายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงเป็นเทพเจ้าแห่งอุปสรรคทั้งปวง

8. โอม วินายะ กายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงเป็นเทพเจ้าสูงสุด

9. โอม ธูมระ เกตะเว นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีกายดั่งเปลวไฟร้อนแรง


10. โอม คณาธยักษากะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงเป็นเจ้าแห่งคณะบริวารแห่งพระศิวะเทพ

11. โอม ภาละ จันทรายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีพระจันทร์เสี้ยวเป็นมงกุฎ

12. โอม คชานะ นายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีพระพักตร์เป็นช้าง

13. โอม วักระ ตุณ ดายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีงวงอันใหญ่โค้ง

14. โอม ศุรปะ กรณายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงมีใบหูอันกว้างใหญ่

15. โอม เหรัมภายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงอำนาจสูงสุด

16. โอม สกันทะ ปูรวชายะ นมัช
ขอน้อมบูชาต่อเทพผู้ทรงเป็นน้องชายพระขัณฑกุมาร

17. โอม มหาคณะปัตเย นมัช
ขอน้อมบูชาต่อพระพิฆเณศผู้ยิ่งใหญ่

บทสวดขอพรพระพิฆเนศ 8 บท
(สวดพร้อมคำขอพรภาษาไทย)


โอม พูตายะ นะมะฮา

ขอพระพิฆเนศวรโปรดประทานความบริสุทธิ์แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

โอม ภัคตะวิฆนะ วินาศิเน นะมะฮา
ขอพระพิฆเนศวรโปรดทำลายความทุกข์ร้อนแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

โอม วิฆะณะราชายะ นะมะฮา
ขอพระพิฆเนศวรโปรดขจัดอุปสรรคทั้งปวงอันจะเกิดแก่ชีวิตของข้าพเจ้าด้วยเถิด

โอม ศุธิปริยายะ นะมะฮา

ขอพระพิฆเนศวรโปรดประทานสติปัญญาในการประกอบอาชีพแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

โอม ศริษายะ นะมะฮา

ขอพระพิฆเนศวรโปรดประทานทรัพย์สมบัติและความอุดมสมบูรณ์แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

โอม สธิรายะ นะมะฮา

ขอพระพิฆเนศวรโปรดประทานความมั่นคงแก่ชีวิตข้าพเจ้าด้วยเถิด

โอม สมาหิตายะ นะมะฮา

ขอพระพิฆเนศวรโปรดประทานสุขภาพพลานามัยที่ดีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

โอม สมุยายะ นะมะฮา

ขอพระพิฆเนศวรโปรดประทานความสงบสุขแก่ชีวิตข้าพเจ้าด้วยเถิด

บทลงท้าย เมื่อเสร็จสิ้นการสวดบูชาหรือประกอบพิธีกรรม

มนต์กราบขอขมาลาโทษต่อองค์เทพทุกพระองค์
เพื่อขอขมาต่อเทพ หากมีสิ่งใดบกพร่องติดขัดระหว่างการบูชา
โอม กษะมา ปะนัม สะมะระ ปะยาม

มนต์ลาเครื่องสังเวย

ยกเครื่องสังเวยต่างๆ ถาดผลไม้ ขนม น้ำ นม ฯลฯ ขึ้นจรดหน้าผากหรือเหนือศีรษะแล้วกล่าวว่า
โอม ปราสดัม ศิรสา กฤนาม


ganesh

OM JAI

THURSDAY, APRIL 15, 2010

II Shri Vishnu Aarti - Universal Aarti II


Om jai Jagdish hare, Swami jai Jagdish hare,

Bhakt jano ke sankatDaas jano ke sankat, Kshan mein door kare,

Om jai Jagdish hare

Jo dhyave phal pave, Dukh bin se mun ka,

Swami dukh bin se mun ka

Sukh sampati ghar aave, Kasht mite tun ka,

Om jai Jagdish hare

Maat pita tum mere, Sharan gahu mein kiski,

Swami sharan gaho kiskiTum bin aur na dooja, Aas karun mein jiski,

Om jai Jagdish hare

Tum puran Parmatma,Tum Antaryami,

Swami tum Antaryami

Par Braham Parmeshwar, Tum sabke swami,

Om jai Jagdish

hareTum karuna ke sagar, Tum palan karta,

Swami tum palan karta

Mein sevak tum swami, Kripa karo Bharta,

Om jai Jagdish hare

Tum ho ek agochar, Sab ke pranpati,

Swami sab ke pranpati

Kis vidh milun Dyamaye, Tum ko main kumti,

Om jai Jagdish hare

Deen bandhu dukh harta, Tum rakshak mere,

Apne haath uthao, Dwar pada tere,

Om jai Jagdish hare

Vishay vikar mitao, Paap haro Deva,

Shradha bhakti badao

Shradha prem badao, Santan ki seva,

Om jai Jagdish hare

II Shri Hanuman ji Aarti II




Aarti Ke Jai Hanuman Lalaki (3). Dusht dalan Raghunath kalaki
Jaakay bal say giriwar kaapay, Roog doosh jakay nikat na jhankay
Anjani putra maha balli daayee, Santan kay prabhu sada sahaye...
Day beeraa Raghunath pataway, Lanka jaaree seeya soodi laayee
Lanka so koti Samundra Seekhaayee, Jaat pawansut baran layee
Lanka Jaari Asur Sanghaaray, Seeya Ramjee kay kaaj sawaray...
Lakshman moor chet paray Sakaaray, Aani Sajeewan praan ubaaray
Paitee pataal toori jam kaaray, Ahi Ravana kee bujaa ukhaaray
Baayay bujaa asur dhal maaray, Dahinay bujaa sant jam taray...
Sur nar Muni aarati utaaray, Jai jai jai Hanuman ucharaay
Kanchan thaar Kapoor loo chaayee, Aaaarati karat Anjani maayee
Jo Hanuman kee Aaarati gaaway, Basee Baikoontha param pad paaway...

II Laxmi Aarti II


Om Jai Laxmi Mata, Maiya JaiLaxmi Mata,

Tumko nis din sevat, Hari, Vishnu Data

Om Jai Laxmi Mata
Uma Rama Brahmaani, Tum ho Jag Mata,

Surya ChanraMa dhyaavat, Naarad Rishi gaata.

Om Jai Laxmi Mata.
Durga Roop Niranjani, Sukh Sampati Data,

Maiya Sukh Sampati Data

Jo koyee tumko dhyaataa, Ridhee Sidhee dhan paataa

Om Jai Laxmi Mata.
Jis ghar mein tu rehtee, sab sukh guna aataa,

Maiya sab sukh guna aataa,

Taap paap mit jaataa, Man naheen ghabraataa.

Om Jai Laxmi Mata
Dhoop Deep phal meva, Ma sweekaar karo,

Maiya Ma sweekaar karo,

Gyaan prakaash karo Ma, Moha agyaan haro.

Om Jai Laxmi Mata.
Maha Laxmiji ki Aarti, jo gaavey

Maiya nis din jo gaavey,

Uraananda samata, paap uttar jata.

Om Jai Laxmi Mata.

WEDNESDAY, APRIL 14, 2010

II Shiv ji Ki Aarti II


OM JAI SHIV OMKARA, PRABHU JAI SHIV ओमकारा

BRAHMA VISHNU SADA SHIV, ARDHANGII DHARAOM

JAI SHIV ओमकारा

...
EKANANA CHATURANAN PANCHANAN RAJE

HANSANAN, GARURAASAN VRISHVAHAN SAJEOM

JAI SHIV OMKARA....
DO BHUJA, CHAAR CHATURBHUJA DASHABHUJA ATI SOHE

TIINON ROOP NIRAKHATE TRIBHUVAN JAN MOHEOM

JAI SHIV OMKARA...
AKSAMALA VANAMALA MUNDAMALA DHARI

CHANDANA MRIGAMAD SOHAI BHAALE SHASHIDHAARI

JAI SHIV OMKARA...
SHVETAMBARA PIITAMBARA BAAGHAMBARA ANGE

BRAHMADHIK SANAKAADHIK PRETAADHIK SANGEOM

JAI SHIV OMKARA...
KARA MADHYE KAMANDALU AU TRISHUL DHARI

JAGKARTA JAGHARTA JAGAPALAN KARTAJAI

SHIV OMKARA...
BRAHMA VISHNU SADASHIVA JANATA AVIVEKA

PRANAVAKSAR KE MADHAYA TINONH EKAOM

JAI SHIV OMKARA...
TRIGUN SWAMI KI AARTI JO KOI NAR GAVEKA

HATA SHIVANANDA SWAMI MANA VANCHITA PHALA PAVE

JAI SHIV OMKARA...

II Ambe ji Ki Aarti II




Jai Ambe Gauri maiya, jaa Shyama Gauri

Nishdin tumko dhyavat, Hari Brahma Shivji,

Jai Ambe....
Mang sindur birajat, tiko mrigmad ko,

ujjvalse dou naina, chandravadan niko,

Jai Ambe....
Kanak saman kalevar, raktambar raje,

Raktapushp galmala, kanthhar saje,

Jai Ambe....
Kehari vahan rajat, khadg khappar dhari

sur nar munijan sevat, tinke dukhahari,

Jai Ambe....
Kanan kundal shobhit, nasagre moti

Kotik chandra divakar, samrajat jyoti,

Jai Ambe....

Shumbh- nishumbh vidare, MahishaSur ghatia

Dhumra-vilochan naina, nishdin madmati

Jai Ambe....
Chand-mund sanghare, shunit beej hare

Madhu Kaitabh dau mare, sur bhayheen kare

Jai Ambe....
Brahmani, Rudrani tum Kamala Rani,

Agam-nigam bakhani. turn Shiv patrani,

Jai Ambe....
Chaunsath yogini gavat, nritya karat Bhairon,

Bajat tab mridanga, aur bajat damru,

Jai Ambe...
Tum ho jag ki mata, tum hi ho bharta,

Bhaktan ki dukh harta, sukh sampati karta,

Jai Ambe....
Bhuja char ati shobhit, var mudra dhari,

Manvanchhit phal pavat, sevat nar nari,

Jai Ambe....
kanchan thal virajat, agaru kapur bati

Malketu men rajat, kotiratan jyoti,

Jai Ambe....
Shri ambe ji ki aarti, jo koi nit gave,

kahat Shivananda swami, sukh sampati paaveJai
Ambe....

II Ganesh Aarti - Hindi II


JAI GANESH JAI GANESH JAI GANESH देवा

MATA JAKII PARVATII, PITAA MAHAAदेवा

EKA DANTA DAYAVANTA, CAAR BHUJA धारी

IMATHE SINDUURA SOHAI, MUUSE KII SAVARIJAI

GANESH...
ANDHANA KO AANKHA DETAKORHINA KO काया

BANJHANA KO PUTRA DETANIRDHANA KO MAAYAJAI

GANESH...
PAANA CARHE, PHUULA CARHEAURA CARHE मेवा

LADDUAN KO BHOGA LAGESANT KAREN SEVAJAI

GANESHA...